ขั้นที่ 1 - ทำการเปิดใช้งาน Windows Subsystem for Linux (WSL)

เปิด PowerShell as Administrator and run:

dism.exe /online /enable-feature /featurename:Microsoft-Windows-Subsystem-Linux /all /norestart

ขั้นที่ 2 - ทำการเปิดใช้งาน Virtual Machine feature

เปิด PowerShell as Administrator and run:

dism.exe /online /enable-feature /featurename:VirtualMachinePlatform /all /norestart

เสร็จแล้วทำการ Restart เครื่องครั้งนึง

ขั้นที่ 3 - ทำการดาวน์โหลดและติดตั้ง Linux kernel update package

ดาวน์โหลด exe WSL2 Linux kernel update package for x64 machines

ขั้นที่ 4 - ทำการตั้งค่า WSL ค่าเริ่มต้นให้เป็น version 2

เปิด PowerShell as Administrator and run:

wsl --set-default-version 2

ขั้นที่ 5 - ทำการติดตั้ง Linux distribution

ดาวน์โหลดได้จาก Microsoft Store

ณ ที่นี้ได้ทำการเลือกเป็น Ubuntu กด Get ได้เลย

ดาวน์โหลดเสร็จแล้ว กดที่ Launch ก็จะเข้าสู่หน้า cmd ของ Ubuntu ให้ทำการสร้าง User, Password ให้เรียบร้อย

ขั้นที่ 5 - ทำการติดตั้ง Docker Desktop

ดาวน์โหลด exe Docker Desktop
หลังจากติดตั้งเสร็จแล้ว

  1. ไปที่เมนู Settings > General
    img_3
  2. ติ๊กเลือก Use the WSL 2 based engine
  3. กด Apply & Restart
  4. ทำการตั้งค่าเริ่มต้นที่จะรัน Linux distribution
    เปิด PowerShell as Administrator and run:
wsl --set-version ubuntu 2
  1. ไปที่เมนู Settings > Resources > WSL Integration
    img_4
  2. ติ๊กเลือก Enable integration with my default WSL distro และเลือก distributions เป็น Ubuntu
  3. กด Apply & Restart

ขั้นที่ 7 - ทำการทดลองสร้าง Container

เปิด PowerShell as Administrator and run:

docker run -d -p 80:80 docker/getting-started

เสร็จแล้วทดสอบเข้า URL http://localhost

จบสำหรับการ ติดตั้ง Docker Desktop บน Windows เบื้องต้น


แหล่งข้อมูลอ้างอิง